วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

โทรทัศน์ครู


การสอนวิทยาศาสตร์ของ คุณครูอังศนา  มาทอง  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนอัสัมชัญสมุทรปราการ
การทดลองการละลายน้ำ
                ครูเริ่มจากการเชื่อมโยงสิ่งแวดล้อมเข้ากับการทดลองการละลายน้ำ โดยการนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้เด็กมีส่วนร่วมในการทดลอง และ บันทึกการทดลอง และ ให้เด็กออกมาพูดสรุปควมรู้ที่ได้
การทดลองกรด-เบส
                ครูให้เด็กนำสารที่ต้องการหากรด-เบสมาทำการทดลองตามความต้องการของเด็ก และ ให้เด็กทำการทดลองเองเด็กจะรู้ว่าสารที่นำมามีสถานะเป็นกรด หรือ เบส และ ครูแนะนำให้เด็กรู้แก้ปัญหา
ประโยชน์ที่รับ
                1.ได้ทราบว่านักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนจะทำให้นักเรียนได้รับความรู้มากกว่าการสอนแต่ในหนังสือ
2.ได้รับคามรู้เกี่ยวกับการปรับใช้เทคนิคการสอนให้เหมาะสมกับเนื้อหาโดยยึดความรู้ที่นักเรียนจะได้รับเป็นสำคัญ
                3.ได้ทราบว่านักเรียนมีความสนใจในการทดลองวิทยาศาสตร์มาก
อยากแนะนำคุณครูทุกคนว่าการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ยังวิธีการสอน หรือ เทคนิคการสอนมากมาย เช่น การใช้สื่อ                  การสอนจากหนังสือ การทดลอง แต่อย่างไรก็ตามการที่จะสอนโดยวิธีการใดนั้นขึ้นอยู่กับเนื้อนั้นๆ และ ต้องให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนการการสอนด้วย

สรุปวิจัย


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ของเด็กปฐมวัย
The Result of Providing Natural Color Learning Activity on Young Children
1.ชื่อผู้วิจัย
 ยุพาภรณ์ ชูสาย  นักศึกษาหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 ดร.สุจินดา ขจรรุ่งศิลป์  อาจารย์ประจาหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 ชูศรี วงศ์รัตนะ รองศาสตราจารย์ประจาหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2.ต้องการพัฒนาอะไร
- เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
3. ความสัมพันธ์ทางวิทยาศาสตร์
การเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
4.ขั้นตอนการวิจัย
1 ขอความรวมมือกับผู้บริหารโรงเรียนในการทาวิจัย
2 ชี้แจ้งให้ครูประจาชั้นทราบรูปแบบงานวิจัย และขอความรวมมือในการดาเนินการวิจัย
3.3 สร้างความคุ้นเคยกับเด็กกลุ่มตัวอย่างเป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์
4 ก่อนทำการทดลองผู้วิจัยทาการทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
โดยใชแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรสาหรับเด็กปฐมวัยที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
5 ดาเนินการทดลองโดยใชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะ พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ระหวางวันที่ 2 สิงหาคม 2554 ถึงวันที่ 22 กันยายน 2554 ใชเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห สัปดาหละ 3 วัน ไดแก วันจันทร วันพุธ และวันศุกร วันละ 40 นาที ในชวงกิจกรรมเสริมประสบการณ เวลา 09.00 - 09.40 . รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง
6 เมื่อเสร็จสิ้นการทดลองในสัปดาห์ที่ 8 ประเมินหลังการทดลอง (Post-test) ด้วย แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นชุดเดียวกับ Pre-test เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐาน ทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย และนาแบบทดสอบที่ได้จากการทดสอบทั้งก่อนและหลังการทดลองมาตรวจให้ คะแนนและนาไปทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมุติฐานและสรุปผลการวิจัยต่อไป

5.ผลที่ได้
1. ก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับปานกลางทั้งโดยรวมและจาแนกรายทักษะ หลังการ ใชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยอยูมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทั้ง โดยรวมและจาแนกรายทักษะอยู่ในระดับมากที่สุด

2. หลังการใชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์สูงขึ้นกวากอนใชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์อยางมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

บันทึกอนุทินครั้งที่15

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 25 เดือน พฤศจิกายน 2557  


กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น



อันดับแรกอาจารย์ให้นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูต่อทางอาทิตย์ที่แล้ว



จากนั้น อาจายร์ให้ทำCooking  วาฟเฟิล

โดนมีขั้นตอนดังนี้
1 เทแป้งลงไป 1 ถุง 
2 ใส่ไข่ 1 ฟอง
3 ตีไข่ให้เข้ากับแป้ง
4 เติมน้ำลงไปเรื่อยๆ
5 คนให้เข้ากัน จากนั้นนำไปใส่แป้นพิมทำวาฟเฟิล

วาฟเฟิล





การประยุกต์ใช้
1.นำไปประยุกต์ในการเขียนแผนการสอน
2.นำวิธีการสอนไปสอนเด็กในอนาคต
3.การทำอาหาร


การประเมิน

ตนเอง :  ตั้งใจนำเสนอวิจัย และทำวาฟเฟิล

เพื่อน :  สนุกสนานในการทำวาฟเฟิล

อาจารย์ : สรุปท้ายกิจกรรมได้เข้าใจ 



บันทึกอนุทินครั้งที่14

 วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 18 พฤศจิกายน  2557

กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น


นำเสนอแผนต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว

กลุ่มที่ 7 หน่วยนกหงษ์หยก
กลุ่มที่ 8 หน่วย สับปะรด
กลุ่มที่ 9 หน่วย ส้ม 

หลังจากที่เพื่ิอนๆได้นำเสนอเสร็จอาจารย์ให้ทำCooking ทาโกยากิ

วิธีทำ

1. ให้เด็กหั่นแครอท2แท่ง ปูอัด3เส้น ตั้นหอม1เส้น
2.ให้เด็กๆเจียวไข่แล้วใส่ลงถ้สยตัวเองคนละ1ทัพพี
3.ให้เด็กนำถ้สยไข่ไปใส่เครื่องปรุงฐานที่3ดังนี้ แครอท1ช้อนชา ปูอัดครึ่งช้อนชา ต้นหอม1ช้อนชา ซอล
ปรุงรสครึ่งช้อนชา(แล้วแต่ความชอบ) ข้าวเปล่า1ช้อนโต๊ะแล้วคนให้เขากันจากนั้นไปข้อที่4
4. ตั้งกระทะให้ร้อนนำเนยรสยืดลงใส่เล็กน้อยเพื่อไม่ให้ติดกระทะและวไปลงกระทาทาโกยากิ

การประเมิน

ตนเอง :  สนุกในการทำอาหารและมีความรู้เรื่องทำอาหารมากขึ้น
เพื่อน :  ตั้งใจทำของตัวเองอย่างตั้งใจ
อาจารย์ : บอกขั้นตอนการทำอย่างละเอียดและสรุปให้ฟังอย่างเข้าใจ


วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่13

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 11 เดือน พฤศจิกายน 2557  


กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น




 วันนี้อาจารย์ให้แต่ล่ะกลุ่มออกมานำสอนแผนการสอน



 หน่วยที่ 1 สอนแผนเกี่ยวกับบอกชื่อผลไม้แต่ล่ะชนิด
 หน่วยที่ 2 สอนแผนเกี่ยวกับการทำอาหาร น้ำแตงโมปั่น
หน่วยที่ 3 สอนแผนเกี่ยวกับบอกชนิดและชื่อช้าง
หน่วยที่ 4 สอนแผนประโยชน์และข้อควรระวังของข้าวโพด
 หน่วยที่ 5 สอนแผนประโยชน์และข้อควรระวังของกล้วย
หน่วยที่ 6 สอนแผนลักษณะของผีเสื้อ



การประเมิน

ตนเอง :  แต่งกายเรียบร้อยตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนองานอย่างเข้าใจและตั้งใจ

เพื่อน :  ตั้งใจนำเสนอผลการของตัวเอง

อาจารย์ : ให้คำแนะนำและแนะแนวทางอย่างเข้าใจง่ายขึ้น

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ


วันที่ 4 เดือน พฤศจิกายน 2557


กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น


SAMPLE LESSON PLANS


ELEMENTS OF LESSON PLANS






การประยุกต์ใช้

1. เอาไปเป็นตัวอย่างในการเขียนแผนให้กับเด็กได้

การประเมิน

ตนเอง : ตั้งใจทำงานในห้องและฟังอาจารย์

เพื่อน :  คุยกันบ้างบางคน

อาจารย์ :  มีการยกตัวอย่างชัดเจน อธิบายละเอียดดี

วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 28 ตุลาคม 2557

กิจกรรมการทดลองมาวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน



การประเมินผล


การนำไปใช้

สามารถนำกิจกรรมที่เรียนวันนี้ไปใช้สอนในอนาคตได้


ประเมินตนเอง = ตั้งใจเรียนและฟังอาจารย์สอน ร่วมกันทำกิจกรรมการทดลอง


ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจเรียน ร่วมกันทำกิจกรรมการทดลอง


ประเมินผู้สอน
 = อาจารย์มีการสอนแบบคำถามแบบปลายเปิด 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 21 ตุลาคม 2557


  สัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้นำเสนอ ของเล่นวิทยาศาสตร์ พร้อมบอกวิธีการทำ วิธิการเล่น และบอกของเล่นชิ้นนี้เกี่ยวอะไรกับวิทยาศาสตร์ ยังไงของเล่นที่เพื่อนๆ นําเสนอ  อาจารย์ก้อได้ให้ประดิษฐ์ของเล่นจากแกนทิชชู่


วิธีการทำ
1.ตัดแกนทิชชู่ เจาะรูทั้ง 2 ฝั่นตรงข้าม
2. ใช้ไหมพรมใส่เข้าไปในรูที่เจาะ
3.แล้ววาดลงไปที่แกนทิชชู่ที่เราชอบ

    การนำไปใช้
                       สามารถนำไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคตได้


    ประเมินตนเอง
     = ตั้งใจเรียนและฟังอาจารย์สอน

    ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจเรียน มีคุยเป็นบางเวลา 

    ประเมินผู้สอน = อาจารย์มีการสอนแบบคำถามแบบปลายเปิด 


    บันทึกอนุทินครั้งที่9


     วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 
             อาจารย์ จิตนา สุขสําราญ                 

    วันที่อังคาร14ตุลาคม 2557

    นำเสนอชิ้นงานของตัวเอง
    ชิ้นงานของฉัน

    รถแรงดันลม


    เป็นกิจกรรมสอนสอดแทรก  เรื่องการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
    อุปกรณ์ 
    1. ขวดเปล่า  2. ธูป  3. ไฟแช็ค   4. ลวดไม้แขวนเสื้อ  5. ลูกโป่ง
    6. ล้อรถเด็กเล่นที่ไม่ได้ใช้แล้ว  7. หลอดกาแฟงอได้  8. หนังยาง
    วิธีทำ
    1. นำขวดเปล่ามาเจาะรู 4 ด้านสำหรับใส่ล้อ เจาะรูด้านบนขวด 1 รูและ     ก้นขวดเจาะรูใหญ่ 1 รู
    2. ประกอบล้อรถโดยใช้ไม้แขวนเสื้อ เป็นตัวยึด ผ่านรูที่เจะไว้
    3. นำหลอดกาแฟเสียบเข้าไปในขวดที่เจาะรูไว้ด้านบน และดึงปลายหลอดออกอีกด้านผ่านรูที่เจาะไว้ก้นขวด
    4. นำลูกโป่งมามัดติดกับหลอดด้วยหนังยาง ทางด้านบนของขวด
    5. เป่าลูกโป่งแล้วค่อยๆ ปล่อยลมออกจากลูกโป่งให้ลูกโป่งเคลื่อนที่ตามแรงดันลม

    บันทึกอนุทินครั้งที่ 8



                                  วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวัย
                                                          อาจารย์ จิตนา สุขสําราญ
                                                          วันอังคารที่7ตุลาคม2557
                                                          

                                                           





                                        สอบกลางภาค

    บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7

    วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวัย
               
    อาจารย์ จิตนา  สุขสําราญ
                                       
     วันอังคารที่30 กันยายน 2557

    เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาสัมมานาตามรอยแนวคิดเศษฐกิจพอเพียง

    โดย ปอ ทฤษฎี สหวงษ์





    วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557

                                                        สรุปบทความของตัวเอง


    บทความส่งเสริมกระบวนการคิดสำหรับเด็ก โดยรองศาสตราจารย์ ดร.นภเนตร ธรรมบวร อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ
    จากหนังสือ ๗๐ปีโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ



        ความรู้ด้านพันธุกรรมของมนุษย์พิสูจน์ให้ประจักษ์แล้วว่ามนุษย์ไม่ว่าจะเป็นชนชาติใด หรือเผ่าพันธุ์ใดมีความแตกต่างกับทางพันธุกรรมไม่ถึง 2 เปอร์เซ็นต์ แต่การที่มนุษย์มีความแตกต่างกันเป็นผลจากการบ่มเพาะและสภาพแวดลการจัดการเรียนรู้ที่ให้มนุษย์ได้เกิดการบ่มเพาะจึงเป็นหนึ่งที่สอดคล้องกับพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย การส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ถือเป็นการจัดการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของมนุษย์ และยังถือเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย การฝึกประสาทสัมผัสทั้ง 5 ถือเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล ทั้งนี้เพราะประสาทสัมผัสเปรียบเสมือนกับเสาอากาศ หรือตัวรับรู้สิ่งต่างๆ ของมนุษย์ ถ้าเครื่องรับมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ต่างๆ ที่เกิดขึ้นก็ย่อมมีคุณภาพตามไปด้วย แต่ถ้าเครื่องรับขาดประสิทธิภาพในการรับรู้สิ่งต่างๆ หรือมีประสิทธิภาพไม่สูง ก็จะส่งผลให้การเรียนรู้ของเด็กมีคุณภาพต่ำ และการให้เด็กได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีเพียงใดก็ย่อมไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใดๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่พ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูจะต้องช่วยกันฝึกประสาทสัมผัส แก่เด็ก 
    ขั้นตอนต่อไปเป็นการฝึกการแยกแยะโดยผ่านการดมกลิ่นผลไม้ชนิดต่างๆ กัน เช่น กลิ่นส้ม กลิ่นแอปเปิล กลิ่นกล้วย และกลิ่นผลไม้รวม หลังจากที่เด็ก ได้เรียนรู้วิธีดมกลิ่นที่ถูกต้องว่าควรปฏิบัติอย่างไรเพื่อไม่ให้เป็นอันตรายต่อประสาทรับกลิ่นของจมูกแล้ว ได้เรียนรู้วิธีดมกลิ่นที่ถูกต้องว่าควรปฏิบัติอย่างไรเพื่อไม่ให้เป็นอันตรายต่อประสาทรับกลิ่นของจมูกแล้ว เด็กๆ ต่างก็ผลัดกันดมกลิ่นของผลไม้ต่างๆ ที่ตนได้รับพร้อมทั้งบันทึกข้อมูล และตั้งสมมุติฐานไปด้วยในขณะเดียวกัน 
    ความลับของแสง



    บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 6

    วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

    อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

    วันที่ 23  กันยายน  2557




    การเรียนการสอน
    การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามที่เด็กสนใจในเรื่องนั้นโดยมีหัวข้อที่ครอบคลุม
    ชื่อ เรื่องที่เด็กๆสนใจ
    - ชนิด
    -ลักษณะ
    -วิธีการดูแลรักษา/การดำเนินชีวิต
    -ประโยชน์/แปรรูป
    -ข้อควรระวัง

    กิจกรรม แรงโน้มถ่วง




    บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 5

    วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
    อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
    วันที่ 16  กันยายน  2557

    ความรู้ที่ได้รับ

    นำเสนอบทความ  



    1.หลักสูตรวิทยาศาสตร์สำคัญหรือไม่      
    เกิดปัญหาคือครูสอนตามคำบอกเล่า จัดไม่สอดคล้องกับวิธีการรียนรู้ของเด็ก ครูควรจัดการเรียนวิทยาศาสตร์ในรูปแบบบูรณาการกับวิชาอื่นๆตามกรอบมาตราฐานการเรียนรู้ปฐมวัย
    นางสาววีนัส ยอดแก้วผู้อ่านบทความ
    2.สอนลูกเรื่องพืช  โดยอาจารย์นิติธร  ปิลวาสน์
    พ่อแม่ควรส่งเสริมให้ลูกลงมือปฏิบัติ ทำอาหาร ปลูกผัก เลือกซื้อผักผลไม้ ร่วมจัดสวนครัวทำแปลงผัก
    การเรียนการสอน

    ความรู้คือ ตัวเนื้อหาสาระ

    ทักษะคือการปฏิบัติ การกระทำ